Category Archives: เทศบาลตำบลปลายบาง
เทศบาลตำบลปลายบาง
เทศบาลตำบลปลายบาง is a position for activity in post to be presented at the 1st rank on Google page search by address the focus keyphrase name in category.
เทศบาลตำบลปลายบาง Municipality Tambon Plai Bang is the municipality in อำเภอบางกรวย Amphoe Bang Kruai.
อำเภอบางกรวย Amphoe Bang Kruai is one of 6 districts of จังหวัดนนทบุรี Nonthaburi Province, Thailand.
เทศบาล ตำบลปลายบาง – วิกิพีเดีย
เทศบาล ตำบลปลายบาง นนทบุรี – หน้าหลัก | เฟสบุ๊ค – Facebook
บริษัท เอ็มเค เมทัลชีท โปรดักส์ จำกัด
MK Metalsheet Products Company Limited
อำเภอบางกรวย
อำเภอบางกรวย
|
|
---|---|
คำขวัญ: บางกรวยพันธุ์ไม้งาม ลือนามโบสถ์เรือหงส์ ธำรงวัดโบราณ บ้านเกิดไกรทอง ล่องเรือแห่เทียนพรรษา | |
พิกัดภูมิศาสตร์: 13°48′18″N 100°28′22″E | |
อักษรไทย | อำเภอบางกรวย |
อักษรโรมัน | Amphoe Bang Kruai |
จังหวัด | นนทบุรี |
พื้นที่[1] | |
• ทั้งหมด | 57.408 ตร.กม. (22.165 ตร.ไมล์) |
ประชากร (2561) | |
• ทั้งหมด | 136,668 |
• ความหนาแน่น | 2,380.64 คน/ตร.กม. (6,165.8 คน/ตร.ไมล์) |
รหัสไปรษณีย์ | 11130 |
รหัสภูมิศาสตร์ | 1202 |
ที่อยู่ ที่ว่าการ |
หมู่ที่ 8 ถนนบางกรวย-จงถนอม ตำบลวัดชลอ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี 11130 |
บางกรวย เป็นอำเภอที่มีขนาดพื้นที่เล็กที่สุดของจังหวัดนนทบุรี และเป็นอำเภอหนึ่งที่อยู่ติดกับกรุงเทพมหานคร แต่พื้นที่ส่วนใหญ่ยังคงวิถีชีวิตแบบเรือกสวนไร่นาเอาไว้อย่างชัดเจน แต่ทว่าบางกรวยยังถือว่าเป็นศูนย์กลางความเจริญในแง่ต่าง ๆ ของจังหวัดนนทบุรีทั้งในแง่ของการเดินทางที่สะดวกสบายเนื่องจากมีพื้นที่อยู่ติดถนนเส้นหลักหลายสาย รวมไปถึงยังมีร้านอาหารชื่อดังอีกมากมาย นอกจากนี้ยังมีวัดชลอซึ่งถือเป็นวัดที่โด่งดังมาตั้งแต่สมัยอดีตตั้งอยู่ ณ ศูนย์กลางของอำเภอบางกรวยอีกด้วย
เนื้อหา
ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]
อำเภอบางกรวยตั้งอยู่ทางใต้สุดของจังหวัด ห่างจากตัวจังหวัด 16.86 กิโลเมตร[2] มีอาณาเขตติดต่อดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอบางใหญ่และอำเภอเมืองนนทบุรี มีคลองขุดใหม่, คลองจีนบ่าย, ถนนบางม่วง-บางคูลัด, คลองหัวคูใน (วัดพระเงิน), คลองบางนา, คลองนาคเกี้ยว, คลองบางค้อ, คลองบางกอกน้อย, คลองวัดแดง, แนวรั้วหมู่บ้านเยาวพรรณ, ถนนบางศรีเมือง 1, คลองวัดสนาม, คลองบางสีทอง, ซอยบางกรวย-ไทรน้อย 30 (วัดรวกบางสีทอง), ซอยบางไผ่ ซอย 3 (วัดรวกบางสีทอง), ถนนบางไผ่พัฒนา, คลองธรรมบาล และคลองบางกรวยเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอเมืองนนทบุรีและเขตบางซื่อ (กรุงเทพมหานคร) มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศใต้ ติดต่อกับเขตบางพลัด, เขตตลิ่งชัน และเขตทวีวัฒนา (กรุงเทพมหานคร) มีทางรถไฟสายใต้, คลองบางกอกน้อย และคลองมหาสวัสดิ์เป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอพุทธมณฑล (จังหวัดนครปฐม) มีคลองนราภิรมย์เป็นเส้นแบ่งเขต
ที่มาของชื่ออำเภอ[แก้]
ชื่ออำเภอบางกรวยตั้งตามชื่อคลองบางกรวยซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแม่น้ำเจ้าพระยาสายเดิม สันนิษฐานว่าชื่อ “บางกรวย” มีที่มาจากการที่ตามแนวสองฝั่งคลองสายนี้ในอดีตมีต้นกรวย (Horsfieldia irya) ขึ้นอยู่หนาแน่น[3][4] นอกจากนี้แหล่งข้อมูลบางแห่งยังอธิบายว่าชื่อ “บางกรวย” เป็นชื่อที่ผู้คนเรียกตามรูปพื้นที่อำเภอที่มีลักษณะคล้ายกรวยยื่นเข้าไปในแม่น้ำเจ้าพระยา หลังจากอำเภอบางแม่นาง (ปัจจุบันคืออำเภอบางใหญ่) ได้แยกตัวออกไป[3] อย่างไรก็ตาม ได้ปรากฏชื่อคลองบางกรวยและตำบลบางกรวยในเอกสารต่าง ๆ อยู่ก่อนการจัดตั้งกิ่งอำเภอบางแม่นางแล้ว
ประวัติศาสตร์[แก้]
อำเภอบางใหญ่ ได้รับการจัดตั้งเป็นอำเภอเมื่อ พ.ศ. 2447 ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัดนนทบุรี มีเนื้อที่กว้างขวางมาก ต่อมาเจ้าหน้าที่ราชการดูแลไม่ทั่วถึง จึงได้แบ่งเขตการปกครองตำบลบางใหญ่และบางม่วงทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือไปตั้งเป็นกิ่งอำเภอบางแม่นางใน พ.ศ. 2460 ขึ้นอยู่กับอำเภอบางใหญ่จนถึง พ.ศ. 2464 จึงได้ยกฐานะเป็นอำเภอ
ต่อมากระทรวงมหาดไทยได้ประกาศเปลี่ยนชื่ออำเภอบางใหญ่ตามบริเวณที่ตั้งอำเภอและตามการเรียกของคนสมัยนั้นเป็น อำเภอบางกรวย เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2473 พร้อมๆ กับที่อำเภอบางแม่นางได้เปลี่ยนชื่อเป็น “อำเภอบางใหญ่” แทน[5]
วันที่ 1 เมษายน 2480 เปลี่ยนแปลงเขตจังหวัดธนบุรี กับจังหวัดนนทบุรี (ก,ข,ค,ง,จ,ฉ,ช,ซ)[6]
-
- ก. โอนพื้นที่ตำบลบางอ้อ ตำบลบางรัก และตำบลบางพลัด ของอำเภอบางพลัด จังหวัดธนบุรี เฉพาะส่วนที่อยู่ด้านเหนือของทางรถไฟสายใต้ ไปขึ้นกับตำบลบางกรวย อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- ข. โอนพื้นที่หมู่ 1,2 ของตำบลบางบำหรุ อำเภอตลิ่งชัน จังหวัดธนบุรี เฉพาะส่วนที่อยู่ด้านเหนือของทางรถไฟสายใต้ ไปขึ้นกับตำบลวัดชลอ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- ค. โอนพื้นที่หมู่ 1,2 ของตำบลบางกรวย อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี เฉพาะส่วนที่อยู่ด้านใต้ของทางรถไฟสายใต้ ไปขึ้นกับตำบลบางอ้อ อำเภอบางพลัด จังหวัดธนบุรี
- ง. โอนพื้นที่หมู่ 10 ของตำบลบางกรวย อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี เฉพาะส่วนที่อยู่ด้านใต้ของทางรถไฟสายใต้ ไปขึ้นกับตำบลบางรัก อำเภอบางพลัด จังหวัดธนบุรี
- จ. โอนพื้นที่หมู่ 13 ของตำบลบางกรวย อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี เฉพาะส่วนที่อยู่ด้านใต้ของทางรถไฟสายใต้ ไปขึ้นกับตำบลสวนพริก อำเภอบางพลัด จังหวัดธนบุรี
- ฉ. โอนพื้นที่หมู่ 1 ของตำบลวัดชลอ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี เฉพาะส่วนที่อยู่ด้านใต้ของทางรถไฟสายใต้ ไปขึ้นกับตำบลสวนพริก อำเภอบางพลัด จังหวัดธนบุรี
- ช. โอนพื้นที่หมู่ 9,11 ของตำบลวัดชลอ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี เฉพาะส่วนที่อยู่ด้านใต้ของทางรถไฟสายใต้ ไปขึ้นกับตำบลบางบำหรุ อำเภอตลิ่งชัน จังหวัดธนบุรี
- การเปลี่ยนแปลงเขตจังหวัดตามหมายอักษร ก.ข.ค.ง.จ.ฉ.ช. ให้ถือเชิงลาดด้านทิศเหนือของทางรถไฟสายใต้ ตั้งแต่สะพานพระราม 6 ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา ถึงคลองบางกอกน้อยฝั่งตะวันออก เป็นเส้นแบ่งเขต
- ซ. โอนพื้นที่หมู่ 1,2,3,4,8,9,11 ของตำบลมหาสวัสดิ์ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี เฉพาะส่วนที่อยู่ฝั่งใต้ของคลองมหาสวัสดิ์ ไปขึ้นกับตำบลตลิ่งชัน อำเภอตลิ่งชัน จังหวัดธนบุรี
- การเปลี่ยนแปลงเขตจังหวัดตามหมายอักษร ซ. ให้ถือเอาฝั่งตะวันออกของคลองบางกอกน้อย ตรงสะพานรถไฟขึ้นไปทางเหนือจนถึงตรงข้ามคลองมหาสวัสดิ์ฝั่งเหนือ และตัดข้ามคลองบางกอกน้อย ไปถือเอาฝั่งเหนือของคลองมหาสวัสดิ์ต่อไปจนถึงสี่แยกคลองนราภิรมย์ เป็นเส้นแบ่งเขต
ครั้นใน พ.ศ. 2486 จังหวัดนนทบุรีถูกยุบลงเนื่องจากขณะนั้นเกิดปัญหาสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ อำเภอบางกรวยถูกโอนไปเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดธนบุรี แต่ภายหลังก็ได้กลับมาอยู่ในการปกครองของจังหวัดนนทบุรีซึ่งได้รับการยกฐานะขึ้นมาอีกครั้งใน พ.ศ. 2489[7]
การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]
การปกครองส่วนภูมิภาค[แก้]
อำเภอบางกรวยแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 9 ตำบล แต่ละตำบลแบ่งออกเป็นหมู่บ้าน รวม 60 หมู่บ้าน (หรือ 41 หมู่บ้าน หากไม่นับรวมในเขตเทศบาลเมืองบางกรวยซึ่งไม่มีตำแหน่งกำนันและผู้ใหญ่บ้านแล้ว) ได้แก่
1. | วัดชลอ | (Wat Chalo) | 10 หมู่บ้าน | 6. | บางคูเวียง | (Bang Khu Wiang) | 7 หมู่บ้าน | ||||||||||||||
2. | บางกรวย | (Bang Kruai) | 9 หมู่บ้าน | 7. | มหาสวัสดิ์ | (Maha Sawat) | 7 หมู่บ้าน | ||||||||||||||
3. | บางสีทอง | (Bang Si Thong) | 5 หมู่บ้าน | 8. | ปลายบาง | (Plai Bang) | 5 หมู่บ้าน | ||||||||||||||
4. | บางขนุน | (Bang Khanun) | 5 หมู่บ้าน | 9. | ศาลากลาง | (Sala Klang) | 6 หมู่บ้าน | ||||||||||||||
5. | บางขุนกอง | (Bang Khun Kong) | 6 หมู่บ้าน |
การปกครองส่วนท้องถิ่น[แก้]
ท้องที่อำเภอบางกรวยประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 7 แห่ง ได้แก่
- เทศบาลเมืองบางกรวย ครอบคลุมพื้นที่ตำบลวัดชลอและตำบลบางกรวยทั้งตำบล
- เทศบาลตำบลปลายบาง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบางคูเวียงทั้งตำบล ตำบลมหาสวัสดิ์ (เฉพาะหมู่ที่ 1, 2, 6, 7 และบางส่วนของหมู่ที่ 5) และตำบลปลายบางทั้งตำบล
- เทศบาลตำบลศาลากลาง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลศาลากลางทั้งตำบล
- เทศบาลตำบลบางสีทอง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบางสีทองทั้งตำบล
- องค์การบริหารส่วนตำบลบางขนุน ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบางขนุนทั้งตำบล
- องค์การบริหารส่วนตำบลบางขุนกอง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบางขุนกองทั้งตำบล
- องค์การบริหารส่วนตำบลมหาสวัสดิ์ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลมหาสวัสดิ์ (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลปลายบาง)
การคมนาคม[แก้]
ถนน[แก้]
ถนนสายสำคัญของอำเภอบางกรวย ได้แก่
- ถนนกาญจนาภิเษก (ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9)
- ถนนบางกรวย-ไทรน้อย (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215)
- ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3901 (คู่ขนานกาญจนาภิเษกด้านนอก)
- ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3902 (คู่ขนานกาญจนาภิเษกด้านใน)
- ถนนนครอินทร์ (ทางหลวงชนบท นบ.1020)
- ถนนราชพฤกษ์ (ทางหลวงชนบท นบ.3021)
- ถนนจรัญสนิทวงศ์ (หน้าการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย)
- ถนนเทอดพระเกียรติ (เชื่อมถนนบางกรวย-ไทรน้อยกับถนนสิรินธร)
- ถนนบางกรวย-จงถนอม (เชื่อมเขตเทศบาลเมืองบางกรวยเข้ากับเขตเทศบาลตำบลปลายบาง)
- ถนนปลายบางและถนนบางคูเวียง (ถนนสายหลักในเขตเทศบาลตำบลปลายบาง)
- ถนนสำเร็จพัฒนาและถนนอัจฉริยะพัฒนา (ไปสู่อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม)
นอกจากนี้ อำเภอบางกรวยยังมีสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาอีก 1 แห่ง คือ
- สะพานพระราม 7 เชื่อมระหว่างตำบลบางกรวย (และแขวงบางอ้อ เขตบางพลัด) กับแขวงวงศ์สว่าง เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร
ท่าเรือ[แก้]
ปลายบาง แผ่นครอบต่างๆ ย้ำโค้งปลาย ติดฉนวนพีอี สะกรู ปลา […]