Category Archives: อำเภอเมืองสมุทรปราการ

อำเภอเมืองสมุทรปราการ

อำเภอเมืองสมุทรปราการ   is the position for activity in post to be presented at the first rank on Google page search by the focus keyword in category.
อำเภอเมืองสมุทรปราการ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ
อำเภอเมืองสมุทรปราการ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ
อำเภอเมืองสมุทรปราการ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ
อำเภอเมืองสมุทรปราการ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ
อำเภอเมืองสมุทรปราการ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ
อำเภอเมืองสมุทรปราการ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ
อำเภอเมืองสมุทรปราการ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ
อำเภอเมืองสมุทรปราการ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ
อำเภอเมืองสมุทรปราการ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ

ไปยังการนำทางไปยังการค้นหา

อำเภอเมืองสมุทรปราการ
แผนที่จังหวัดสมุทรปราการ เน้นอำเภอเมืองสมุทรปราการ
พิกัดภูมิศาสตร์: 13°36′2″N 100°35′48″E
อักษรไทย อำเภอเมืองสมุทรปราการ
อักษรโรมัน Amphoe Mueang Samut Prakan
จังหวัด สมุทรปราการ
พื้นที่
 • ทั้งหมด 190.557 ตร.กม. (73.574 ตร.ไมล์)
ประชากร (2561)
 • ทั้งหมด 540,979
 • ความหนาแน่น 2,838.93 คน/ตร.กม. (7,352.8 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์ 10270, 10280 (เฉพาะตำบลท้ายบ้าน ท้ายบ้านใหม่ บางปู บางปูใหม่ แพรกษา แพรกษาใหม่ และบางส่วนของปากน้ำ)
รหัสภูมิศาสตร์ 1101
ที่อยู่
ที่ว่าการ
ที่ว่าการอำเภอเมืองสมุทรปราการ ถนนสุทธิภิรมย์ ตำบลปากน้ำ อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ 10270
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

เมืองสมุทรปราการ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ ตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้ำเจ้าพระยาตรงข้ามกับอำเภอพระสมุทรเจดีย์ นอกจากเป็นที่ตั้งของศาลากลางจังหวัดแล้ว อำเภอเมืองสมุทรปราการยังเป็นที่ตั้งของศาลเด็กและเยาวชน ห้องสมุดประชาชน และท่ารถโดยสารประจำทางสายต่าง ๆ รวมทั้งเป็นบริเวณที่จัดงานพระสมุทรเจดีย์ของทุกปี อำเภอนี้เป็นอำเภอที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศไทย

ประวัติศาสตร์[แก้]

  • พ.ศ. …………. ตั้งอำเภอเมืองสมุทรปราการ
  • วันที่ 11 ธันวาคม 2478 จัดตั้งเทศบาลเมืองสมุทรปราการ[1]
  • วันที่ 1 มกราคม 2486 จังหวัดสมุทรปราการ ได้ยุบลงเนื่องจากขณะนั้นในช่วง สงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ อำเภอเมืองสมุทรปราการจึงย้ายไปขึ้นกับจังหวัดพระนคร และ เปลี่ยนชื่ออำเภอเป็น อำเภอสมุทรปราการ[2]
  • วันที่ 10 พฤษภาคม 2489 ตั้งจังหวัดสมุทรปราการ ขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง[3]
  • วันที่ 25 กันยายน 2489 อำเภอสมุทรปราการเปลี่ยนชื่อกลับมาเป็น อำเภอเมืองสมุทรปราการ[4]
  • วันที่ 20 กันยายน 2505 ตั้งตำบลบางปูใหม่ แยกออกจากตำบลบางปู[5]
  • วันที่ 2 พฤศจิกายน 2505 เปลี่ยนแปลงเขตเทศบาลเมืองสมุทรปราการ[6]
  • วันที่ 28 มกราคม 2506 จัดตั้งสุขาภิบาลสำโรงเหนือในท้องที่บางส่วนของตำบลสำโรงเหนือ และ บางส่วนของตำบลบางเมือง[7]
  • วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2506 โอนพื้นที่หมู่ 1-5 (บางส่วน) ของตำบลบางเมือง หมู่ 4-5 (บางส่วน) และ หมู่ 7 (บางส่วน) ของตำบลบางด้วน หมู่ 1-3 (บางส่วน) หมู่ 4 (ทั้งหมู่) หมู่ 6 (บางส่วน) และ หมู่ 7 (ทั้งหมู่) ของตำบลท้ายบ้าน ให้ไปรวมกับตำบลปากน้ำ เนื่องจากได้ขยายอาณาเขตเทศบาลเมืองสมุทรปราการ[8]
  • วันที่ 2 สิงหาคม 2508 จัดตั้งสุขาภิบาลบางปูในท้องที่ตำบลบางปู ตำบลบางปูใหม่ และตำบลท้ายบ้าน[9]
  • วันที่ 15 กรกฎาคม 2522 ตั้งตำบลบ้านคลองสวน แยกออกจากตำบลนาเกลือ[10]
  • วันที่ 15 ธันวาคม 2527 แยกพื้นที่ตำบลปากคลองบางปลากด ตำบลในคลองบางปลากด ตำบลแหลมฟ้าผ่า ตำบลนาเกลือ และตำบลบ้านคลองสวน ไปตั้งเป็น กิ่งอำเภอพระสมุทรเจดีย์ ขึ้นกับอำเภอเมืองสมุทรปราการ[11]
  • วันที่ 1 สิงหาคม 2529 ตั้งตำบลบางเมืองใหม่ แยกออกจากตำบลบางเมือง[12]
  • วันที่ 1 กรกฎาคม 2533 ตั้งตำบลเทพารักษ์ แยกออกจากตำบลสำโรงเหนือ[13]
  • วันที่ 19 กรกฎาคม 2534 ยกฐานะจากกิ่งอำเภอพระสมุทรเจดีย์ อำเภอเมืองสมุทรปราการ เป็น อำเภอพระสมุทรเจดีย์[14]
  • วันที่ 12 กรกฎาคม 2536 จัดตั้งสุขาภิบาลแพรกษาในท้องที่บางส่วนของตำบลแพรกษา[15]
  • วันที่ 18 กรกฎาคม 2537 จัดตั้งสุขาภิบาลด่านสำโรงในท้องที่บางส่วนของตำบลสำโรงเหนือ[16] และจัดตั้งสุขาภิบาลบางเมือง ในท้องที่บางส่วนของตำบลบางเมือง และตำบลสำโรงเหนือ[17]
  • วันที่ 1 สิงหาคม 2538 ตั้งตำบลท้ายบ้านใหม่ แยกออกจากตำบลท้ายบ้าน[18]
  • วันที่ 21 สิงหาคม 2538 ตั้งตำบลแพรกษาใหม่ แยกออกจากตำบลแพรกษา[19]
  • วันที่ 7 กันยายน 2538 จัดตั้งสุขาภิบาลสำโรงเหนือเป็นเทศบาลตำบลสำโรงเหนือ[20]
  • วันที่ 24 มีนาคม 2542 ยกฐานะเทศบาลเมืองสมุทรปราการเป็นเทศบาลนครสมุทรปราการ[21]
  • วันที่ 25 พฤษภาคม 2542 จัดตั้งสุขาภิบาลบางเมือง สุขาภิบาลด่านสำโรง สุขาภิบาลบางปู และสุขาภิบาลแพรกษา เป็นเทศบาลตำบลบางเมือง เทศบาลตำบลด่านสำโรง เทศบาลตำบลบางปู และเทศบาลตำบลแพรกษาตามลำดับ

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

การปกครองส่วนภูมิภาค[แก้]

อำเภอเมืองสมุทรปราการแบ่งเขตปกครองย่อยออกเป็น 13 ตำบล 95 หมู่บ้าน ได้แก่

1. ปากน้ำ (Pak Nam) 8. บางปู (Bang Pu) 4 หมู่บ้าน
2. สำโรงเหนือ (Samrong Nuea) 9 หมู่บ้าน 9. บางด้วน (Bang Duan) 6 หมู่บ้าน
3. บางเมือง (Bang Mueang) 11 หมู่บ้าน 10. บางเมืองใหม่ (Bang Mueang Mai) 10 หมู่บ้าน
4. ท้ายบ้าน (Thai Ban) 6 หมู่บ้าน 11. เทพารักษ์ (Thepharak) 10 หมู่บ้าน
5. บางปูใหม่ (Bang Pu Mai) 10 หมู่บ้าน 12. ท้ายบ้านใหม่ (Thai Ban Mai) 9 หมู่บ้าน
6. แพรกษา (Phraekkasa) 3 หมู่บ้าน 13. แพรกษาใหม่ (Phraekkasa Mai) 4 หมู่บ้าน
7. บางโปรง (Bang Prong) 4 หมู่บ้าน

การปกครองส่วนท้องถิ่น[แก้]

อำเภอเมืองสมุทรปราการประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 12 แห่ง ได้แก่

การศึกษา[แก้]

ในอำเภอเมืองสมุทรปราการมีห้องสมุดประชาชนตั้งอยู่บริเวณตรงข้ามกับศาลากลางจังหวัด และพิพิธภัณฑ์สวาง พิพิธภัณฑ์นายเรือ มีโรงเรียนตั้งแต่ระดับอนุบาลศึกษา จนถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย

โรงเรียนในอำเภอ[แก้]

อาชีวะศึกษาในอำเภอ[แก้]

การคมนาคม[แก้]

อำเภอเมืองสมุทรปราการมีถนนสายหลัก ได้แก่

ถนนสายรอง ได้แก่

รถไฟฟ้า

การคมนาคมทางน้ำ ได้แก่ แม่น้ำเจ้าพระยา มีท่าเรือวิบูลย์ศรีบริการเรือข้ามฟากไปยังอำเภอพระสมุทรเจดีย์ ส่วนคลองที่สำคัญ ได้แก่ คลองสำโรง คลองบางปิ้ง คลองแพรกษา คลองขุด (เลียบถนนตำหรุ-บางพลี) และคลองชลประทาน (เลียบถนนสุขุมวิท)

ทม. ปากน้ำ สมุทรปราการ หลังคา พียู ลายไม้

ทม. สมุทรปราการ แผ่นใส สีใสกระจก

เทศบาลตำบลบางเมือง แผ่นใส สีขาวขุ่น

ทต. เทพารักษ์ แผ่นใส สีขาวขุ่น

อบต. บางโปรง แผ่นโปร่งแสง ลอนลูกฟูก

ทต. สำโรงเหนือ แผ่นโปร่งแสง ลอนลูกฟูก

อบต. บางด้วน หลังคา แซนวิช พียูโฟม

ทต. บางปู หลังคา แซนวิช พียูโฟม

ทม. แพรกษาใหม่ หลังคา พียู โฟม

ทต. ด่านสำโรง หลังคา พียู โฟม

Call Now Button